Home
เพลงสถาบัน
ติวสอบ
สารจากประธานฯ
กระดานสนทนา
กิจกรรม
ลิงค์
มีฎีกามาบอก
กำหนดการ

 

พยานหลักฐาน

มาตราที่สำคัญคือ วิพ มาตรา 84,88-90,93,94,95,123-5,183,183ทวิ

วิอ มาตรา 226-229,232,234,237ทวิ,238-243

 

คดีแพ่ง

คดีอาญา

1. ม.84
     1) ประเด็นข้อพิพาท ภาระการพิสูจน์
         สัญญา, ละเมิด, แบ่งทรัพย์
     2) คำท้า
     3) ข้อยกเว้น 84(1)(2)

 

1. มาตรา 174
     1) หน้าที่ที่นำสืบก่อนตกโจทก์เสมอ
     2) คำท้าใช้ในคดีอาญาไม่ได้

 

2.บทตัดพยาน
     1) พยานหลักฐานที่ไม่ถูกต้อง แท้จริง

 

 


     2) วิแพ่ง5) ม.86,87,118 ว3
     3) ป.รัษฎากร ม.118
ฎ 1123/43 หนังสือสัญญากู้ และสัญญาค้ำประกันที่เป็นเพียงหลักฐาน ไม่ใช่ตราสาร ไม่ต้องปิดอากรแสตมป์
     4) พยานบอกเล่า ใช้ วิพ ม 95

 

2. บทตัดพยาน
     1)พยานหลักฐานที่ได้มาโดยมิชอบ
         (1)ค้นหรือยึดมาโดยไม่ชอบ หรือค้นโด่ยได้มาจากคำให้การที่ไม่ชอบ (ศาลไทยรับฟัง)
         (2)พยานหลักฐานที่ไม่ชอบตาม ม.226 ไม่แจ้งข้อหา,ข่มขู่,(ศาลไม่รับฟังคำให้การ)
         (3)การล่อซื้อที่ชักจูงให้ทำผิดศาลไม่รับฟัง แต่ถ้าล่อซื้อธรรมดาศาลรับฟัง
2) วิอ ศาลมีอำนาจตามม.228,229,234-6
3)วิอ ม 252 คดีอาญาไม่ต้องเสียค่าธรรมเนียม



4)พยานบอกเล่าอาญาศาลรับฟังแต่น้ำหนักน้อยยกเว้นคำคนตาย,ช่วยจำเลยน้ำหนักมาก
5)คำซัดทอดน้ำหนักน้อยต้อง8) มีพยานประกอบ
6) ปวิอ มาตรา 323 ออกสอบบ่อยมาก

3. กฎเกณฑ์เกี่ยวกับพยานหลักฐาน

1)กฎเกณฑ์ที่ใช้กับพยานหลักฐานทุกชนิดทั้งคดีแพ่งและอาญา ปวิพ มาตรา 88,89

2) กฎเกณฑ์ที่ใช้กับพยานหลักฐานบางอย่าง
     (1) พยานเอกสาร วิพ ใช้ 90,93,125
     (2) พยานวัตถุ วิพ ใช้ 128
     (3) พยานผู้เชี่ยวชาญ วิพ ใช้ 98,99,129
     (4) การสืบพยานไว้ก่อน วิพ ใช้ 101

 



    

     (1) วิอ ใช้ 238,240
     (2) วิอ ใช้ 241,242
      (3) ผู้ชำนาญ การพิเศษ วิอ ใช้243
     (4) วิอ ใช้ 237ทวิ

ล้มละลาย

มาตราที่สำคัญ 2,8,9,10,14,27,31,35,36,59,60,61,88-91,94,109,115,119-21146,158, เรื่องพื้นฟู
การสอบเนติภาคที่ผ่านสมัย 53 เน้น 60,119,121 ถึง 124, ฟื้นฟูในส่วนที่เทียบเคียงกับล้มละลายได้
ฎีกาสำคัญ ของ 60,119 (1157/10,1239/08,6058/41,2071/35,150/43,1233/43 ให้ดูฎีกาเต็ม ทุกฎีกาเพราะจะมีการนำบางส่วนของฎีกามาผสมกัน และบางส่วนได้ถูกนำไปออกสอบผู้ช่วยแล้ว จึงต้องดูให้ละเอียดทุกฎีกา โดยเฉพาะฎีกาที่ 1157/10,150/43,1233/43) ฎีกาน่าสนใจ 1594/42 ชุด3 หน้า2

 

พระธรรมนูญศาลยุติธรรม

มาตราที่สำคัญของพระธรรมนูญศาลยุติธรรม ม.8,9,11,16,17,24-31
1.อำนาจกระทำการแทน

ศาลฎีกา

ศาลอุทธรณ์

ศาลอุทธรณ์ภาค

อธิบดีศาลชั้นต้น

ศาลจังหวัด

ศาลแขวง

ประธาน

รอง 1 ถึง 3 คน

ประธาน

รอง 1 คน

ประธาน

รอง 1 คน

อธิบดี

รอง 1 ถึง 3 คน

หัวหน้าศาล

ไม่มีรอง

หัวหน้าศาล

ไม่มีรอง

1.ถ้าไม่มีประธาน ไม่มีรอง ก็ให้ผู้พิพากษาที่มีอาวุโสสูงสุดเป็นผู้ทำการแทน
2.ถ้าไม่มีประธาน ไม่มีรอง ไม่มีผู้พิพากษาที่อาวุโส ให้ประธานศาลฎีกาสั่ง
3.ผู้พิพากษาอาวุโส, ผู้พิพากษาประจำศาล ไม่มีอำนาจทำการแทน

2.ม.11 ประธานศาลฎีกา, ประธานศาลอุทธรณ์, ประธานศาลอุทธรณ์ภาค, อธิบดีศาลชั้นต้น,
หัวหน้าศาลจังหวัด หรือหัวหน้าศาลแขวง มีอำนาจตาม ม.11
    รองฯ ไม่มีอำนาจตาม ม.11(1)(3)-(7) มีแต่อำนาจตาม ม.11(2)ไม่มีผู้ทำการแทน

3. อธิบดีผู้พิพากษาภาค
    1) ไม่มีศาลภาค มีแต่สำนักงาน
    2) มีเฉพาะอธิบดีเพียงคนเดียว
    3) อำนาจ
        (1)เป็นผู้พิพากษาคนหนึ่งในเขตภาค
         (2)ม.11
        (3)ม.14 (1)(2)

4. ม.16
    1) กรณีศาลแพ่ง ศาลอาญา
    2) กรณีศาลจังหวัด

5. อำนาจศาล

ศาลอุทธรณ์,ศาลฎีกา

ศาลชั้นต้น

ศาลแขวง

ผู้พิพากษาอาวุโส

ผู้พิพากษาประจำศาล

1)24(1)(2)

2)22,23

ผู้พิพากษา 1 คน
1) 24(1)(2)
2) 25(1)-(5)
3) 31(1)-(4)

 

 

 

1) 24(1)(2)
2) 25(1)-(5)
3) 31(2)

ข้อสังเกต
การสั่งตาม 25(1)-(3)
ต้องอยู่ภายใต้ 25(4)(5) ยกเว้นการออกหมายเรียก,หมายค้น,
การขอกักกันอย่างเดียว

1) 24(1)(2)
2) 25(1)-(5)
3) เป็นเจ้าของสำนวนได้
4) ไม่มีอำนาจตาม 11
5) ไม่มีอำนาจตาม 33
6) อาจเป็นผู้พิพากษานั่ง8) พิจารณาแทนหรือพิพากษา
แทนตาม 28,29 ได้

1) 24(1)(2)
2) 25(1)(2)
3) เป็นเจ้าของ สำนวนไม่ได้เป็นได้แต่อง ค์คณะร่วม
4) ไม่มีอำนาจตาม 11
5) ไม่มีอำนาจตาม 33
6) ผู้พิพากษาประจำศาล 2 คนเป็นอง9) ค์คณะไม่ได้

หมายเหตุ
1) คดีร้องขัดทรัพย์ ศาลแขวงรับพิจารณาได้ ไม่จำกัดทุนทรัพย์ (3223/22)
2) คดีแพ่งเกี่ยวเนื่องคดีอาญา อัยการฟ้องได้แม้ทุนทรัพย์เกิน 300,000 บาท (2952/27)
ราษฎรเป็นโจทก์ หรือโจทก์ร่วม ทุนทรัพย์เกิน 300,000 บาทไม่ได้

6. มาตรา 28-31
    1) ม.28 มีมอบหมาย ม.29 ไม่มีมอบหมาย
   2) ม.31 (1)(2)(4) ใช้ในศาลแขวงไม่ได้

7. หมายเหตุ
    1)ผู้พิพากษาประจำศาล ไม่มีอำนาจตาม 25(3) ถึง (5) และไม่มีอำนาจเป็นผู้กระทำการแทน,เจ้าของ สำนวนเป็นได้เพียงองค์คณะร่วม
    2)ผู้พิพากษาอาวุโส มีอำนาจตาม 24,25 ไม่มีอำนาจกระทำการแทน
    3)มาตรา 25 ใช้เฉพาะผู้พิพากษาศ.ต้น ผู้พิพากษาศ.อุทธรณ์ ไม่มีอำนาจตาม 25
    4)ข้อแตกต่างระหว่างศ.แขวงกับศ.จังหวัด
        (1) หมายขัง,ปล่อย
        (2) 25 (4).(5) ประกอบ 26
  
     (3) ร้องขัดทรัพย์
        (4) มาตรา 31(2) เท่านั้น ที่ใช้กับศ.แขวงได้ด้วย
         (5) วิอ.43

วิแขวง
มาตราที่สำคัญ 7,7ทวิ,9,20,22
1.จะผลัดฟ้องได้ต่อเมื่อมีการจับ
   ถ้ายังไม่แจ้งข้อหายังไม่ถือว่าถูกจับ 3744/41
    ถ้าจับไม่ชอบ ถือว่าไม่มีการจับนิติบุคคลจะถูกจับไม่ได้ จึงทำให้ไม่ต้องขอผลัดฟ้อง
       1)
ถ้าไม่ผลัดฟ้อง ศาลต้องยก แม้ศาลอนุญาต ก็ไม่ชอบ (2250/41)
  
     2)ฟ้องด้วยวาจา
        3)ม.20 เป็นข้อยกเว้น ม.120
        4)ม.22 เหมือน 193 ทวิ
2.การนับวันผลัดฟ้อง นับวันที่ผลัดเป็น 1 วัน และการขอผลัดฟ้องต้องขอก่อนหมดเวลา
3.การผลัดฟ้องไม่จำเป็นต้องนำตัวจำเลยมาศาล แต่ถือว่ายังไม่อยู่ในอำนาจศาล (2144/39)
4.ถ้ามีหลายข้อหา ข้อหาที่มีโทษหนักที่สุดไม่จำเป็นต้องมีการผลัดฟ้อง คดีนั้นก็ไม่ต้องผลัดฟ้องทุกข้อหา 3042/32

กลับไปหน้าเดิม